บทที่ 9 (3)
1. ฝ่ายบุคคล
1.1. จุดแข็ง (Strength)"ด้านการบริหารจัดการเมืองตามหลักธรรมาภิบาล"
(1) มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของตนเอง มีความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคล
(2) มีการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลให้มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามหลักคุณธรรม
(3) มีการปรับโครงสร้างอัตรากำลังของหน่วยงานกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับภารกิจในปัจจุบันและอนาคต
(4) มีการจัดปรับปรุงระบบงานลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ด้านการบริหารจัดการภายใน
(1) สามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ตามแผนและลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นได้
(4) มีระบบฐานข้อมูลและการจัดการความรู้สนับสนุน
(2) การบริหารจัดการมีความโปร่งใส
(3) โดยเฉลี่ยบุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน และมีการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
1.2. จุดอ่อน
ด้านการบริหารจัดการเมืองตามหลักธรรมาภิบาล
(1) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารงานบุคคลยังไม่ทั่วถึง และล่าช้า ขาดการสื่อสาร ให้ความรู้ความเข้าใจ
ที่ถูกต้อง
(2) มีกฎหมายเฉพาะของตนเองแต่ไม่สมบูรณ์ต้องนำกฎหมายการบริหารงานบุคคลภาครัฐมาใช้โดยอนุโลม
ภาครัฐให้สอดคล้องกับระเบียบกฎหมายโครงสร้างการบริหาร สภาพปัญหาของกรุงเทพมหานคร
(3) ยากในการเรียนรู้ ทำความเข้าใจ การนำมาใช้ การเชื่อมโยงตัวบทกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ที่ออกใช้บังคับของ
(4) มีสายงานจำนวนมากและหลากหลายถึง 162 สายงาน
(6) ข้าราชการจำนวนมากขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
(5) ยุ่งยากซับซ้อนในการบริหาร การจัดการ การวางกฎเกณฑ์ ระเบีบบ ข้อบังคับให้เหมาะสมและสอดคล้อง
ด้านการบริหารจัดการภายใน
1) บุคลากรยังต้องการเพิ่มขวัญกำลังใจให้มากขึ้น
2) อุปกรณ์ เครื่องมือ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไม่เพียงพอ
3โอกาสด้านผลกระทบจากนโยบายรัฐบาล กฎหมาย การเมือง
1) มีการถ่ายโอนภารกิจจากภาครัฐให้แก่ กทม. ส่งผลให้มีการปรับโครงสร้างหน่วยงานกรุงเทพมหานคร
2) พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... เปิดโอกาสให้ กทม. ปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานบุคคลของกรุงเทพมหานครให้เป็นไป
ร่าง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... และร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ
ตามความต้องการและความเหมาะสมของ กทม. ได้มากยิ่งขึ้น
การทำงาน จัดกลุ่มภารกิจและมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเพิ่มประิสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภาครัฐ
3) พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มุ่งให้มีการปรับปรุงระบบงานลดขั้นตอน
ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม ประชากรศาสตร์
ประชาชนให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในการบริหารราชการของกรุงเทพมหานครและกิจกรรมต่าง ๆ และร่วมตรวจสอบการทำงานของข้าราชการ
ด้านการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีภายนอกที่เกี่ยวข้อง Software ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการด้านบุคลากรในปัจจุบันมีจำนวนมากขึ้น
ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจเชิงมหภาค
สิ่งจูงใจอื้น ๆ ให้มีความเหมาะสมเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ
1) ค่าตอบแทนของข้าราชการไม่สอดคล้องกับค่าครองชีพปริมาณงาน คุณภาพงาน ควรกำหนดค่าตอบแทนหรือ
2) รายได้ของกรุงเทพมหานครไม่สามารถจัดเก็บได้ตามเป้าหมาย
ด้านการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีภายนอกที่เกี่ยวข้อง ขาดการสนับสนุนนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารและการปฏิบัติราชการ
2.ฝ่ายบัญชี BALK GROUD ของตัวผู้ประกอบการเอง ว่ามีประสบการณ์อย่างไร มีจุดแข็งอย่างไรในตัวของคุณเอง
หรือ บุคคลิกดีสวยสะดุดตากว่าคนอื่น เป็นต้น
เช่น มีจุดเด่น ที่พูดคุย เป็นมิตรกับทุกคน
หรือชอบทำงาน GRAPHIC ได้ดี และเด่นกว่าคนอื่น
จุดเด่น จุดแข็ง
1. เป็นธุกิจที่ลงทุนไม่มากคืนทุนได้เร็ว
2. กำไร 300-1500% นับว่าสูงมาก
แต่ผู้ประกอบการจะต้องชอบการทำงานกับคอมพิวเตอร์ ประเภทกราฟฟิก
3. เรียนรู้ได้ง่ายไม่ซับซ้อนจนเกินไป
5. ห้างสรรพสินค้ามีคนเดินมาก โอกาศได้งานมีสูง
4. จุดเด่นหลัก คือ ความเร็ว ลูกค้าสามารถรอรับได้เลย
ทำให้เกิดงาน ประยุกต์ หลากหลายขึ้น โดยลงทุนเท่าเดิม
6. เครื่องหนึ่งอย่างสามารถรับงานได้หลายประเภท
7. มีโปรแกรมลิขสิทธิ์ให้ใช้ควบคู่กับเครือของเรา
จุดอ่อน
1. ปัจจุบันมีความจริงจังเรื่องโปรแกรม ลิขสิทธ์มากขึ้น การใช้โปแกรมดีๆ
แต่ไม่ถูกต้องตามลิขสิทธ์ บางครั้งอาจเกิดปัญหาการถูกจับละเมิดได้
2. เปิดร้านเริ่มต้นยังไม่มีลูกค้าประจำ จะต้องใช้กลยุทธมากขึ้น
เช่น CORELDORAW, PHOTOSHOP,WINDOW
และโปรแกรมแท้ยังมีราคาสูงอยู่
รอ 3-6 เดือน จะเริ่มมีลูกค้าประจำ
เช่น วิธีการโปรโมทร้านค้า,เว็บบอร์ด,โปรเตอร์ในลิฟท์,ใบปลิว เป็นต้น
ในช่วงเริ่มต้นต้องคิดหาวิธี ทำการตลาดเชิงรุก เข้าไปด้วย
แก้ไขด้วยการ พูดคุยต่อรอง กับฝ่ายขายพื้นที่ หรือขอผ่อนผัน
3. ค่าเช่าสูง และต้องมีค่ามัดจำด้วย ทำให้ลงทุนมากขึ้น
โอกาส
1. ไม่มีร้านค้าประเภทเดียวกันในห้างที่คุณจะตั้งอยู่ ร้านค้าคู่แข่งอยู่นอกห้าง
ซึ่ง พฤติกรรมของคนในจังหวัดที่คุณอยู่นั้น คนชอบเดินเล่นในห้าง
ขาดความน่าเชื่อถือ จุดนี้ เราสามารถ แข่งขันได้ อย่างแน่นอน เป็นต้น
2. ร้านค้าคู่แข่ง ไม่ได้บริหารงานด้วยตัวเจ้าของร้านเอง ร้านเก่า ทรุดโทรม
3. ราคาขายของร้านคู่แข่งสูงมาก และเจ้าของร้านไม่ค่อยรับแขก
4. เราใช้เทคโนโลยีล่าสุดทำให้ง่ายต่อการแบ่งปัน คุณภาพดีกว่าแน่นอน
เพราะเปิดมานานแล้ว คิดว่ามีลูกค้าประจำ แต่ลูกค้าอาจหลุดมาร้านเราก็ได้
และต้นทุนก็น่าจะต่ำกว่าด้วยเช่นกัน
อุปสรรค์
1. เป็นธุรกิจที่ลงทุนไม่มาก อาจมีคู่แข่งเกิดขึ้นภายหลังได้
ดังนั้นจึงต้องคิดให้ แตกต่างอยู่เสมอ
2. พื้นที่เช่าในห้างมีการแข่งขันสูง ทำให้หาพื้นที่สวยๆยากขึ้น
หรือ อาจได้ในราคาสูงเกินไป
3.ฝ่ายการตลาด
จุดแข็ง: คุณภาพสูง, เป็นผลิตภัณฑ์ US Import มีความน่าเชื่อถือในหมู่คนไทยมาก
จุดอ่อน: แบรนด์ยังไม่เป็นที่รู้จัก, ราคาสูงเมื่อเทียบกับคู่แข่งที่มีอยู่แล้วในตลาด
โอกาส: แนวโน้มตลาดอาหารเสริมในประเทศเติบโตขึ้น เฉลี่ย 20% ทุกปี
อุปสรรค: การแข่งขันภายในตลาดสูง และความควบคุมที่เข้มงวดของภาครัฐ โดยเฉพาะเรื่องการโฆษณา
เมื่อเราวิเคราะห์ SWOT เสร็จแล้ว… ต้องมาพิจารณาต่อดังนี้
จุดแข็ง… ต้องนำมาเป็นจุดขาย และนำมาต่อยอดทางธุรกิจ
โอกาส… สิ่งที่เราใช้พิจารณาความเป็นไปได้ของธุรกิจ แบรนด์ และผลิตภัณฑ์ที่เรากำลังจะทำ
จุดอ่อน… ต้องแก้ไขจุดอ่อนให้ได้ หรือถ้าแก้ไม่ได้ก็ต้องหลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถึง
อุปสรรค… สิ่งที่เราใช้พิจารณาถึงปัญหาที่เราต้องพึงระวังเป็นพิเศษ ซึ่งต้องหาทางออกหรือทางแก้ปัญหาเตรียมไว้เสมอ
ส่วนโอกาสและอุปสรรค… จะเป็นเรื่องที่เราควบคุมได้ยาก ซึ่งเราต้องทำความเข้าใจ หาจังหวะใช้โอกาสให้เป็น และก้าวผ่าน หรือหลบหลีกอุปสรรคให้ได้
ซึ่งจุดแข็งและจุดอ่อน… ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องที่เราควบคุมได้ แก้ไข ปรับปรุง พัฒนา หรือต่อยอดได้
สุดท้ายจึงนำ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค…
มาสรุปและจัดทำเป็นวัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดกลยุทธ์ แผนดำเนินการ และการประเมินผล ในแผนงานต่อไป
4.ฝ่ายไอที
จุดแข็ง (Strengths)
1. โรงเรียนมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสามารถพัฒนาและใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้
2. การมีเจ้าหน้าฝ่ายซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ ช่วยทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา การซ่อมบำรุงสะดวก รวดเร็ว และประหยัด
3. การจัดทำฐานข้อมูลร่วมกันของโรงเรียน ทำให้โรงเรียนสามารถผลิตสารสนเทศต่าง ๆ เป็นไปด้วยความถูกต้อง และรวดเร็ว ไม่ซ้ำซ้อน
5. ทุกจุดในโรงเรียนสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายภายในและใช้งานอินเตอร์เน็ตได้
4. โปรแกรมระบบจัดการเรียนรู้ผ่านอินเตอร์เน็ต ช่วยทำให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกหนทุกแห่ง โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
6. นักเรียนมีทักษะพื้นฐานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และแสวงหาความรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
จุดอ่อน (Weaknesses)
1. นักเรียนกว่าร้อยละ 30 มีคอมพิวเตอร์ และร้อยละ 5 มีอินเตอร์เน็ตใช้ที่บ้าน
1. ด้านงบประมาณยังไม่เพียงพอ ส่งผลให้สัดส่วนของจำนวน เครื่องคอมพิวเตอร์ต่อนักเรียน ยังไม่เหมาะสม ขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นบางอย่าง
2. เทคโนโลยีสารสนเทศก้าวไปอย่างรวดเร็ว บุคลากรด้านนี้ยังตามไม่ค่อยทัน
โอกาส (Opportunities)
2. ผู้ปกครองให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตมีราคาถูกลง ในขณะที่ความเร็วสูงขึ้น
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากร บางคนยังขาดความสนใจและพัฒนาตนเองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. หลายหน่วยงานเห็นความสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
อุปสรรค์ (Threats)
1. การเลือกรับสื่อบนระบบอินเตอร์เน็ตของนักเรียน ยังขาดความตระหนักที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น การเข้าเล่นเกมส์ออนไลน์ การเข้าเว็บที่ไม่เหมาะสม ฯ
5. ฝ่ายผลิต
การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) การประกอบธุรกิจในฟินแลนด์
จุดแข็ง
1. การจัดตั้งบริษัทง่ายและกฎระเบียบไม่ซับซ้อน
3. การประกอบธุรกิจมีความชัดเจน โปร่งใส และตรวจสอบได้
2. รัฐมีระบบการสนับสนุนด้านเงินทุนสำหรับการเริ่มประกอบธุรกิจ
จุดอ่อน
2. ผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายแรงงานของฟินแลนด์
1. ผู้ประกอบการควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษา และพฤติกรรมการบริโภคของชาวฟินแลนด์
3. มีกฎหมายคุ้มครองลูกจ้างที่นายจ้างจำเป็นต้องปฏิบัติตาม เช่น การทำประกันสังคมและ ประกันสุขภาพ รวมถึงประกันอุบัติเหตุจากการจ้างงานซึ่งทำให้มีต้นทุนสูงในการประกอบธุรกิจ
โอกาส
1. การประกอบธุรกิจที่มีเอกลักษณ์ความเป็นไทยจะดึงดูดลูกค้าได้มากกว่า เนื่องจากชาวฟินแลนด์ให้ความสนใจประเทศไทยเป็นอย่างมาก
2. ธุรกิจสามารถเติบโต สร้างความมั่นคง และสร้างเงินหมุนเวียนได้
3. ชาวฟินแลนด์มีรายได้ดี และกำลังซื้อสูง
2. ชาวฟินแลนด์ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับปัจจัยในการดำรงชีวิต เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม การสื่อสาร เป็นสิ่งที่ชาวฟินแลนด์ให้ความสนใจมากกว่า
4. การเลือกประกอบธุรกิจในทำเลที่ดีจะสามารถสร้างเงินหมุนเวียนได้สูงและมีลูกค้าประจำ
อุปสรรค
1. ชาวฟินแลนด์มีความรอบคอบในการเลือกที่จะบริโภคสินค้าราคาถูกที่มีปริมาณมาก
3. พื้นที่เช่าในทำเลย่านธุรกิจมีการแข่งขันสูงทำให้หาพื้นที่ทีมีศักยภาพดียากขึ้น หรืออาจหาได้ในราคาที่สูงเกินไป
4. ผู้ประกอบการควรต้องรู้ภาษาท้องถิ่น แม้ว่าชาวฟินแลนด์มากกว่าร้อยละ 85 สามารถ สื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่ก็คาดหวังที่จะได้รับการบริการและการสื่อสารในภาษาท้องถิ่น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น