วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559

บทที่ 9 (3)


1. ฝ่ายบุคคล
1.1. จุดแข็ง (Strength)"ด้านการบริหารจัดการเมืองตามหลักธรรมาภิบาล"
(1) มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของตนเอง มีความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคล
(2) มีการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลให้มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามหลักคุณธรรม
(3) มีการปรับโครงสร้างอัตรากำลังของหน่วยงานกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับภารกิจในปัจจุบันและอนาคต
(4) มีการจัดปรับปรุงระบบงานลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารจัดการภายใน (1) สามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ตามแผนและลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นได้
(4) มีระบบฐานข้อมูลและการจัดการความรู้สนับสนุน
(2) การบริหารจัดการมีความโปร่งใส
(3) โดยเฉลี่ยบุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน และมีการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง

1.2. จุดอ่อน

ด้านการบริหารจัดการเมืองตามหลักธรรมาภิบาล
(1) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารงานบุคคลยังไม่ทั่วถึง และล่าช้า ขาดการสื่อสาร ให้ความรู้ความเข้าใจ
ที่ถูกต้อง (2) มีกฎหมายเฉพาะของตนเองแต่ไม่สมบูรณ์ต้องนำกฎหมายการบริหารงานบุคคลภาครัฐมาใช้โดยอนุโลม
ภาครัฐให้สอดคล้องกับระเบียบกฎหมายโครงสร้างการบริหาร สภาพปัญหาของกรุงเทพมหานคร
(3) ยากในการเรียนรู้ ทำความเข้าใจ การนำมาใช้ การเชื่อมโยงตัวบทกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ที่ออกใช้บังคับของ (4) มีสายงานจำนวนมากและหลากหลายถึง 162 สายงาน
(6) ข้าราชการจำนวนมากขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
(5) ยุ่งยากซับซ้อนในการบริหาร การจัดการ การวางกฎเกณฑ์ ระเบีบบ ข้อบังคับให้เหมาะสมและสอดคล้อง

ด้านการบริหารจัดการภายใน
1) บุคลากรยังต้องการเพิ่มขวัญกำลังใจให้มากขึ้น
2) อุปกรณ์ เครื่องมือ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไม่เพียงพอ
3โอกาสด้านผลกระทบจากนโยบายรัฐบาล กฎหมาย การเมือง
1) มีการถ่ายโอนภารกิจจากภาครัฐให้แก่ กทม. ส่งผลให้มีการปรับโครงสร้างหน่วยงานกรุงเทพมหานคร
2) พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... เปิดโอกาสให้ กทม. ปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงานบุคคลของกรุงเทพมหานครให้เป็นไป
ร่าง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. .... และร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ ตามความต้องการและความเหมาะสมของ กทม. ได้มากยิ่งขึ้น
การทำงาน จัดกลุ่มภารกิจและมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเพิ่มประิสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภาครัฐ
3) พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มุ่งให้มีการปรับปรุงระบบงานลดขั้นตอน

ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม ประชากรศาสตร์
ประชาชนให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในการบริหารราชการของกรุงเทพมหานครและกิจกรรมต่าง ๆ และร่วมตรวจสอบการทำงานของข้าราชการ
ด้านการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีภายนอกที่เกี่ยวข้อง Software ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการด้านบุคลากรในปัจจุบันมีจำนวนมากขึ้น
ด้านการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจเชิงมหภาค
สิ่งจูงใจอื้น ๆ ให้มีความเหมาะสมเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ
1) ค่าตอบแทนของข้าราชการไม่สอดคล้องกับค่าครองชีพปริมาณงาน คุณภาพงาน ควรกำหนดค่าตอบแทนหรือ
2) รายได้ของกรุงเทพมหานครไม่สามารถจัดเก็บได้ตามเป้าหมาย
ด้านการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีภายนอกที่เกี่ยวข้อง ขาดการสนับสนุนนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารและการปฏิบัติราชการ
2.ฝ่ายบัญชี BALK GROUD ของตัวผู้ประกอบการเอง ว่ามีประสบการณ์อย่างไร มีจุดแข็งอย่างไรในตัวของคุณเอง
หรือ บุคคลิกดีสวยสะดุดตากว่าคนอื่น เป็นต้น
เช่น มีจุดเด่น ที่พูดคุย เป็นมิตรกับทุกคน
หรือชอบทำงาน GRAPHIC ได้ดี และเด่นกว่าคนอื่น

จุดเด่น จุดแข็ง
1. เป็นธุกิจที่ลงทุนไม่มากคืนทุนได้เร็ว
2. กำไร 300-1500% นับว่าสูงมาก
แต่ผู้ประกอบการจะต้องชอบการทำงานกับคอมพิวเตอร์ ประเภทกราฟฟิก
3. เรียนรู้ได้ง่ายไม่ซับซ้อนจนเกินไป
5. ห้างสรรพสินค้ามีคนเดินมาก โอกาศได้งานมีสูง
4. จุดเด่นหลัก คือ ความเร็ว ลูกค้าสามารถรอรับได้เลย
ทำให้เกิดงาน ประยุกต์ หลากหลายขึ้น โดยลงทุนเท่าเดิม
6. เครื่องหนึ่งอย่างสามารถรับงานได้หลายประเภท
7. มีโปรแกรมลิขสิทธิ์ให้ใช้ควบคู่กับเครือของเรา

จุดอ่อน
1. ปัจจุบันมีความจริงจังเรื่องโปรแกรม ลิขสิทธ์มากขึ้น การใช้โปแกรมดีๆ
แต่ไม่ถูกต้องตามลิขสิทธ์ บางครั้งอาจเกิดปัญหาการถูกจับละเมิดได้
2. เปิดร้านเริ่มต้นยังไม่มีลูกค้าประจำ จะต้องใช้กลยุทธมากขึ้น
เช่น CORELDORAW, PHOTOSHOP,WINDOW และโปรแกรมแท้ยังมีราคาสูงอยู่
รอ 3-6 เดือน จะเริ่มมีลูกค้าประจำ
เช่น วิธีการโปรโมทร้านค้า,เว็บบอร์ด,โปรเตอร์ในลิฟท์,ใบปลิว เป็นต้น ในช่วงเริ่มต้นต้องคิดหาวิธี ทำการตลาดเชิงรุก เข้าไปด้วย
แก้ไขด้วยการ พูดคุยต่อรอง กับฝ่ายขายพื้นที่ หรือขอผ่อนผัน
3. ค่าเช่าสูง และต้องมีค่ามัดจำด้วย ทำให้ลงทุนมากขึ้น

โอกาส
1. ไม่มีร้านค้าประเภทเดียวกันในห้างที่คุณจะตั้งอยู่ ร้านค้าคู่แข่งอยู่นอกห้าง
ซึ่ง พฤติกรรมของคนในจังหวัดที่คุณอยู่นั้น คนชอบเดินเล่นในห้าง
ขาดความน่าเชื่อถือ จุดนี้ เราสามารถ แข่งขันได้ อย่างแน่นอน เป็นต้น
2. ร้านค้าคู่แข่ง ไม่ได้บริหารงานด้วยตัวเจ้าของร้านเอง ร้านเก่า ทรุดโทรม 3. ราคาขายของร้านคู่แข่งสูงมาก และเจ้าของร้านไม่ค่อยรับแขก
4. เราใช้เทคโนโลยีล่าสุดทำให้ง่ายต่อการแบ่งปัน คุณภาพดีกว่าแน่นอน
เพราะเปิดมานานแล้ว คิดว่ามีลูกค้าประจำ แต่ลูกค้าอาจหลุดมาร้านเราก็ได้
และต้นทุนก็น่าจะต่ำกว่าด้วยเช่นกัน

อุปสรรค์
1. เป็นธุรกิจที่ลงทุนไม่มาก อาจมีคู่แข่งเกิดขึ้นภายหลังได้
ดังนั้นจึงต้องคิดให้ แตกต่างอยู่เสมอ
2. พื้นที่เช่าในห้างมีการแข่งขันสูง ทำให้หาพื้นที่สวยๆยากขึ้น
หรือ อาจได้ในราคาสูงเกินไป

3.ฝ่ายการตลาด
จุดแข็ง: คุณภาพสูง, เป็นผลิตภัณฑ์ US Import มีความน่าเชื่อถือในหมู่คนไทยมาก
จุดอ่อน: แบรนด์ยังไม่เป็นที่รู้จัก, ราคาสูงเมื่อเทียบกับคู่แข่งที่มีอยู่แล้วในตลาด
โอกาส: แนวโน้มตลาดอาหารเสริมในประเทศเติบโตขึ้น เฉลี่ย 20% ทุกปี
อุปสรรค: การแข่งขันภายในตลาดสูง และความควบคุมที่เข้มงวดของภาครัฐ โดยเฉพาะเรื่องการโฆษณา
เมื่อเราวิเคราะห์ SWOT เสร็จแล้ว… ต้องมาพิจารณาต่อดังนี้ จุดแข็ง… ต้องนำมาเป็นจุดขาย และนำมาต่อยอดทางธุรกิจ
โอกาส… สิ่งที่เราใช้พิจารณาความเป็นไปได้ของธุรกิจ แบรนด์ และผลิตภัณฑ์ที่เรากำลังจะทำ
จุดอ่อน… ต้องแก้ไขจุดอ่อนให้ได้ หรือถ้าแก้ไม่ได้ก็ต้องหลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถึง อุปสรรค… สิ่งที่เราใช้พิจารณาถึงปัญหาที่เราต้องพึงระวังเป็นพิเศษ ซึ่งต้องหาทางออกหรือทางแก้ปัญหาเตรียมไว้เสมอ
ส่วนโอกาสและอุปสรรค… จะเป็นเรื่องที่เราควบคุมได้ยาก ซึ่งเราต้องทำความเข้าใจ หาจังหวะใช้โอกาสให้เป็น และก้าวผ่าน หรือหลบหลีกอุปสรรคให้ได้
ซึ่งจุดแข็งและจุดอ่อน… ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องที่เราควบคุมได้ แก้ไข ปรับปรุง พัฒนา หรือต่อยอดได้ สุดท้ายจึงนำ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค…
มาสรุปและจัดทำเป็นวัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดกลยุทธ์ แผนดำเนินการ และการประเมินผล ในแผนงานต่อไป

4.ฝ่ายไอที
จุดแข็ง (Strengths)
1. โรงเรียนมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสามารถพัฒนาและใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้
2. การมีเจ้าหน้าฝ่ายซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ ช่วยทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา การซ่อมบำรุงสะดวก รวดเร็ว และประหยัด
3. การจัดทำฐานข้อมูลร่วมกันของโรงเรียน ทำให้โรงเรียนสามารถผลิตสารสนเทศต่าง ๆ เป็นไปด้วยความถูกต้อง และรวดเร็ว ไม่ซ้ำซ้อน
5. ทุกจุดในโรงเรียนสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายภายในและใช้งานอินเตอร์เน็ตได้
4. โปรแกรมระบบจัดการเรียนรู้ผ่านอินเตอร์เน็ต ช่วยทำให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกหนทุกแห่ง โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ 6. นักเรียนมีทักษะพื้นฐานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และแสวงหาความรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง จุดอ่อน (Weaknesses)
1. นักเรียนกว่าร้อยละ 30 มีคอมพิวเตอร์ และร้อยละ 5 มีอินเตอร์เน็ตใช้ที่บ้าน
1. ด้านงบประมาณยังไม่เพียงพอ ส่งผลให้สัดส่วนของจำนวน เครื่องคอมพิวเตอร์ต่อนักเรียน ยังไม่เหมาะสม ขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นบางอย่าง 2. เทคโนโลยีสารสนเทศก้าวไปอย่างรวดเร็ว บุคลากรด้านนี้ยังตามไม่ค่อยทัน โอกาส (Opportunities) 2. ผู้ปกครองให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตมีราคาถูกลง ในขณะที่ความเร็วสูงขึ้น
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากร บางคนยังขาดความสนใจและพัฒนาตนเองด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. หลายหน่วยงานเห็นความสำคัญต่อการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต อุปสรรค์ (Threats)
1. การเลือกรับสื่อบนระบบอินเตอร์เน็ตของนักเรียน ยังขาดความตระหนักที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น การเข้าเล่นเกมส์ออนไลน์ การเข้าเว็บที่ไม่เหมาะสม ฯ

5. ฝ่ายผลิต
การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) การประกอบธุรกิจในฟินแลนด์
จุดแข็ง 1. การจัดตั้งบริษัทง่ายและกฎระเบียบไม่ซับซ้อน
3. การประกอบธุรกิจมีความชัดเจน โปร่งใส และตรวจสอบได้
2. รัฐมีระบบการสนับสนุนด้านเงินทุนสำหรับการเริ่มประกอบธุรกิจ จุดอ่อน
2. ผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายแรงงานของฟินแลนด์
1. ผู้ประกอบการควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษา และพฤติกรรมการบริโภคของชาวฟินแลนด์
3. มีกฎหมายคุ้มครองลูกจ้างที่นายจ้างจำเป็นต้องปฏิบัติตาม เช่น การทำประกันสังคมและ ประกันสุขภาพ รวมถึงประกันอุบัติเหตุจากการจ้างงานซึ่งทำให้มีต้นทุนสูงในการประกอบธุรกิจ
โอกาส 1. การประกอบธุรกิจที่มีเอกลักษณ์ความเป็นไทยจะดึงดูดลูกค้าได้มากกว่า เนื่องจากชาวฟินแลนด์ให้ความสนใจประเทศไทยเป็นอย่างมาก 2. ธุรกิจสามารถเติบโต สร้างความมั่นคง และสร้างเงินหมุนเวียนได้ 3. ชาวฟินแลนด์มีรายได้ดี และกำลังซื้อสูง
2. ชาวฟินแลนด์ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับปัจจัยในการดำรงชีวิต เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม การสื่อสาร เป็นสิ่งที่ชาวฟินแลนด์ให้ความสนใจมากกว่า
4. การเลือกประกอบธุรกิจในทำเลที่ดีจะสามารถสร้างเงินหมุนเวียนได้สูงและมีลูกค้าประจำ อุปสรรค 1. ชาวฟินแลนด์มีความรอบคอบในการเลือกที่จะบริโภคสินค้าราคาถูกที่มีปริมาณมาก 3. พื้นที่เช่าในทำเลย่านธุรกิจมีการแข่งขันสูงทำให้หาพื้นที่ทีมีศักยภาพดียากขึ้น หรืออาจหาได้ในราคาที่สูงเกินไป
4. ผู้ประกอบการควรต้องรู้ภาษาท้องถิ่น แม้ว่าชาวฟินแลนด์มากกว่าร้อยละ 85 สามารถ สื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่ก็คาดหวังที่จะได้รับการบริการและการสื่อสารในภาษาท้องถิ่น
บทที่ 6 (1)

คำสั่ง จงอธิบายลักษณะงานตามหน้าที่ขององค์กรแต่ละฝ่ายดังนี้



1. ฝ่ายบัญชี


หน้าที่หลักของการบัญชี
1             ตรวจสอบรายรับรายจ่ายต่างๆ ของบริษัท
2             บันทึกบัญชีของสมุดรายวันชั้นต้นตรวจสอบ Statement
3             จัดทำรายการทางการเงินประจำเดือน (งบทดลองและรายละเอียดลูกหนี้)
4             ใบเรียกเก็บเงิน
5             บัญชีค่าใช้จ่าย
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางการตลาด
1.  ระบบบัญชีการเงิน (financial accounting system) บัญชีการเงินเป็นการบันทึกรายการคำที่เกิดขึ้นในรูปตัวเงิน จัดหมวดหมู่รายการต่าง ๆ สรุปผลและตีความหมายในงบการเงิน ได้แก่ งบกำไรขาดทุน งบดุล และงบกระแสเงินสด โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ นำเสนอสารสนเทศแก่ผู้ใช้และผู้ที่สนใจข้อมูลทางการเงินขององค์การ เช่น นักลงทุนและเจ้าหนี้ นอกจากนี้ยังจัดเตรียมสารสนเทศในการตัดสินใจของผู้บริหาร ซึ่งนักบัญชีสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการประมวลข้อมูล โดยจดบันทึกลงในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปหรือจานแม่เหล็ก เพื่อรอเวลาสำหรับทำการประมวลและแสดงผลข้อมูลตามต้องการ
             2.  ระบบบัญชีบริหาร (managerial accounting system) บัญชีบริหารเป็นการนำเสนอข้อมูลทางการเงินแก่ผู้บริหาร เพื่อใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ ระบบบัญชีจะประกอบด้วย บัญชีต้นทุน การงบประมาณ และการศึกษาระบบ โดยมีลักษณะสำคัญคือ
·       ให้ความสำคัญกับการจัดการสารสนเทศทางการบัญชีแก่ผู้ใช้ภายในองค์การ
·       ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานในอนาคตของธุรกิจ
·       ไม่ต้องจัดทำสารสนเทศตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
·       มีข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน
·       มีความยืดหยุ่นและสามารถปรับให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งาน



2. ฝ่ายการตลาด


หน้าที่หลักของการตลาด
1.             จัดการเกี่ยวกับสินค้าและบริการ คือ การดำเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ในสินค้าและบริการ เพื่อให้เกิดความพอใจและตรงกับความต้องการของผู้บริโภคหรือลูกค้ามากที่สุด
2.             แจกจ่ายสินค้าและบริการ สินค้าที่ผลิตขึ้นมาแล้วจำเป็นต้องมีการจัดส่งไปยังผู้บริโภค
3.           การบริการให้ความสะดวก  เพื่อให้ธุรกิจต่าง ๆ สามารถดำเนินต่อไปได้อย่างมั่นคง  และถาวร  การตลาดจึงต้องให้การบริการและอำนวยความสะดวกให้กับธุรกิจต่าง ๆ
4.        สื่อสารข้อมูลทางการตลาด  เจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด  เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาดได้แล้วจะต้องนำข้อมูลความต้องการสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ให้แก่ผู้ผลิต  เพื่อผู้ผลิต จะได้นำข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงสินค้าและบริการขึ้นมาใหม่ ให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าหรือผู้ผลิต จะมีฝ่ายการผลิตเป็นผู้ดำเนินการปรับปรุงสินค้า และฝ่ายประชาสัมพันธ์ภายในบริษัทจะทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์สินค้าตัวใหม่ไปยังลูกค้าและผู้อุปโภค  บริโภค  เพื่อให้ผู้บริโภคหรือลูกค้าได้ทราบถึงสินค้าหรือบริการใหม่ ผู้ผลิตต้องทราบความเคลื่อนไหวทางการตลาดได้ถูกต้อง  เพื่อเป็นข้อมูลที่จะนำไปสู่การผลิตสินค้าและบริการมาสนองให้ตรงกับความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง  
  
3. ฝ่ายการผลิต
หน้าที่หลักของการผลิต
การผลิต (production) เป็นกระบวนการแปรรูปทรัพยากรการผลิต เช่น วัตถุดิบ แรงงาน และ พลังงาน ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่พร้อมในการจัดจำหน่ายแก่ลูกค้า โดยผู้ผลิตต้องพยากรณ์ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า โดยไม่ให้มีจำนวนมากหรือน้อยจนเกินไป ตลอดจนควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของลูกค้า โดยมีต้นทุนการผลิตที่เหมาะสม ปัจจุบันการขยายตัวของธุรกิจจากการผลิตเข้าสู่สังคมบริการ ทำให้มีการประยุกต์หลักการของการจัดการผลิตกับงานด้านบริการ ซึ่งเราจะเรียกการผลิตในหน่วยบริการว่า การดำเนินงาน (operations)” โดยที่แหล่งข้อมูลในการผลิตและการดำเนินงานขององค์การมีดังต่อไปนี้
                1.  ข้อมูลการผลิต/การดำเนินงาน (production/operations data)  เป็นข้อมูลจากกระบวนการผลิตหรือการให้บริการ ซึ่งจะแสดงภาพปัจจุบันของระบบการผลิตของธุรกิจว่ามีประสทธิภาพมากน้อยเพียงใด และมีปัญหาอย่างไรในการดำเนินงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนในการแก้ปัญหาและการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานในอนาคต
                2.  ข้อมูลสินค้าคงคลัง (inventory data) บันทึกปริมาณวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูปที่เก็บไว้ในโกดัง โดยผู้จัดการต้องพยายามจัดให้มีสินค้าคงคลังในปริมาณไม่เกินความจำเป็นหรือขาดแคลนเมื่อเกิดความต้องการขึ้น
                3.  ข้อมูลจากผู้ขายวัตถุดิบ (supplier data)  เป็นข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ คุณสมบัติ และราคาวัตถุดิบ ตลอดจนช่วงทางและต้นทุนในการลำเลียงวัตถุดิบ ปัจจุบันการพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic data interchange) หรือที่เรียกว่า EDI ช่วยให้การประสานงานระหว่างผู้ขายวัตถุดิบ ธุรกิจ และลูกค้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น
                4.  ข้อมูลแรงงานและบุคลากร (labor force and personnel data) ข้อมูลเกี่ยวกับพนักงานในสายการผลิตและปฏิบัติการ เช่น อายุ การศึกษา และประสบการณ์ เป็นต้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการจัดบุคลากรให้สอดคล้องกับงาน ขณะที่ข้อมูลภายนอกเกี่ยวกับตลาดแรงงานจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนและจัดหาแรงงานทดแทน และการกำหนดอัตราค่าจ้างอย่างเหมาะสม
                5.  กลยุทธ์องค์การ (corporate strategy)  แผนกลยุทธ์ขององค์การจะเป็นแม่บทและแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การผลิตแลการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ



4. ฝ่ายทรัพยากรบุคคล


     การที่ IKEA จะพัฒนาได้ ต้องอาศัยทีมงานที่มีคุณภาพ มีความมุ่งมั่นที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองให้มีมาตรฐานที่สูงขึ้นอยู่เสมอ แนวทาง HR ของ IKEA คือเปิดโอกาสให้กับผู้คนทั่วไป ที่มีความตั้งใจจริง ตรงไปตรงมา และมีความสามารถ ได้เติบโตไปพร้อมกับ IKEA เพราะการเติบโตของผู้ร่วมงานก็คือการเติบโตของ IKEA นั่นเอง บทบาทหน้าที่ของทีม HR จึงต้องช่วยสนับสนุนแนวทางของ IKEA ในการทำให้ทุกวันของทุกคนมีความสุข ซึ่งทุกคนในที่นี้หมายถึงทั้งชาว IKEA และลูกค้าของเรา งานด้านทรัพยากรบุคคลคือ งานที่มีบทบาทอยู่ในทุกส่วนงานของ IKEA ตั้งแต่จัดหาบุคลากร จัดฝึกอบรม ไปจนถึงมีส่วนร่วมในแผนงานธุรกิจและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีคุณสมบัติพร้อม สืบทอดงานอย่างต่อเนื่อง 
  บทบาทสำคัญอีกประการของ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล คือปกป้องและสร้างความแข็งแกร่งให้กับแนวทางความเป็น IKEA แนวทางที่หลอมรวมทุกคนเข้าไว้ด้วยกันไม่ว่าจะมาจากพื้นฐานแบบใด เป็นแนวทางที่จะช่วยให้ทุกคนพัฒนาไปพร้อมๆกันได้อย่างเป็นรูปธรรม 
ทีมทรัพยากรบุคคลยังมีหน้าที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ร่วมงานทุกคนให้มีความสุขในการทำงาน และมั่นใจว่าจะสามารถเติบโตในตำแหน่งหน้าที่การงานในอนาคต โดยร่วมมือกับผู้จัดการแผนกต่างๆ ในการพัฒนาศักยภาพของผู้ร่วมงานทุกคนอย่างเหมาะสม 



5. ฝ่ายวิจัย
ฝ่ายวิจัยและพัฒนาวิชาการ
      เป็นที่ยอมรับในปัจจุบันว่า หัวใจสำคัญในการพัฒนาประเทศเพื่อให้สามารถยืนหยัดในเวทีนานาชาติ ในสภาพการแข่งขันไร้พรมแดนได้ คือความสามารถในการพัฒนาองค์ความรู้ของตนเอง และลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากภายนอก ดังนั้นการวิจัยและพัฒนาซึ่งเป็นกลไกหลักในการสร้างองค์ความรู้ จึงถือได้ว่าเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนในทุกๆ ด้าน สถาบันค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการผลิต ซึ่งปัจจุบันมีการนำเข้าจากต่างประเทศจำนวนมาก จึงได้จัดตั้งฝ่ายวิจัยและพัฒนาวิชาการขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการด้านงานวิจัย งานบริการวิชาการ รวมถึงเป็นแหล่งข้อมูลในการให้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต แก่นิสิต นักศึกษา และบุคลากรภาคเอกชน
วัตถุประสงค์ 



1. เพื่อให้บริการงานวิจัย การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาต่างๆ แก่อุตสาหกรรมการผลิต
    ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
2. เพื่อยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการ วิศวกร ช่างเทคนิคและบุคลากรที่ทำงาน
    ในอุตสาหกรรมการผลิตที่ทันสมัย
3. เพื่อให้ความช่วยเหลือและให้บริการทางด้านเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยให้แก่ทั้งหน่วยงานภาครัฐ
    และเอกชน
4. เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนให้แก่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และฝึกอบรมบุคลากรทั้งหน่วยงานภาครัฐ
    และเอกชน
5. เพื่อเพื่อให้ความร่วมมือทางวิชาการด้านวิศวกรรมการผลิตที่ทันสมัย แก่อุตสาหกรรมการผลิตทั้ง
    หน่วยงานภาครัฐและเอกชน

แผนกปฏิบัตการ
1. แผนกวิจัยและพัฒนา (Research and Development) 
        เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้การบริการวิจัย การสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนในเชิงความรู้ทางวิชาการเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิต และการสนับสนุนในเชิงเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานวิจัยเหล่านั้น

2. แผนกพัฒนาวิชาการ (Technical Education Development)
        หน่วยงานนี้มุ่งหวังเพื่อที่จะนำความรู้และประสบการณ์ต่างๆที่ได้จากการทำงานทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นงานวิจัยและพัฒนา งานวิเคราะห์และออกแบบ งานบริการผลิตชิ้นส่วนต่างๆ และงานสนับสนุนการเรียนการสอนและฝึกอบรม โดยจะนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้นี้ไปพัฒนาต่อยอดจนกลายเป็นองค์ความรู้ที่สามารถนำไปถ่ายทอดและเผยแพร่ต่อไปสู่ นิสิต นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรภาคอุตสาหกรรมการผลิตได้
ขอบข่ายการให้บริการ
1. บริการให้คำปรึกษาแนะนำทางด้านเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรมที่ทันสมัย โดยเฉพาะ
    เทคโนโลยี CAD/CAM และเทคโนโลยีที่ใช้เครื่องจักร CNC
2. บริการผลิตขึ้นรูปชิ้นงาน ชิ้นงานวิจัน ด้วยเครื่องจักร อันได้แก่
     -  เครื่องกัดซีเอ็นซี (CNC Milling Machine)
     -  เครื่องกลึงซีเอ็นซี (CNC Turning Machine)
     -  เครื่องตัดโลหะแผ่นด้วยแสงเลเซอร์ (Lacer Cutting)
     -  เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์แบบพื้นฐาน
3. บริการฝึกอบรมทางด้านเทคโนโลยีการผลิต
4. บริการวิจัยและสันบัสนุนงานวิจัยและพัฒนาร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน


6. หัวหน้างาน

 1. มีความเป็นผู้นำ (Leadership)
ผู้นำ หมายถึง การแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อผลงานที่เกิดขึ้นจากสมาชิกในทีม และสามารถโน้มน้าวจิตใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนดไว้ด้วยความเต็มใจ และเป็นที่ยอมรับของสมาชิกทุกคนในทึม
           5 คุณลักษณะพฤติกรรมด้านผู้นำที่ลูกน้องต้องการมีดังต่อไปนี้
                1. อยากเห็นหัวหน้ามีความกล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจอย่างเด็ดขาด
                2. อยากเห็นหัวหน้าแสดงความรับผิดชอบต่อผลงานที่เกิดขึ้นของทีม ไม่ใช่โทษแต่ลูกน้อง
                3. อยากเห็นหัวหน้าพูดจริง ทำจริง ไม่เหลาะแหละ
             4. อยากเห็นหัวหน้าปกป้องลูกน้องในเรื่องต่างๆ เช่น กล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็นแทนลูกน้อง กล้าชนกับหน่วยงานอื่น
               5. อยากเห็นหัวหน้าเป็นที่พึ่งพิง เวลาที่เกิดปัญหา หรือรู้สึกไม่สบายใจ
 2. มีความยุติธรรม (Fair)
ความยุติธรรม หมายถึง ความเสมอภาคในการตัดสินใจ หรือให้ความสำคัญกับคนใดหรือสิ่งใด โดยที่ไม่เอนเอียงไปด้านใด ด้านหนึ่ง หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
5 พฤติกรรมที่ผู้ตามคาดหวังจากหัวหน้าด้านความยุติธรรม มีดังนี้
  1. อยากเห็นหัวหน้าเป็นคนมีเหตุผล
  2. อยากเห็นหัวหน้ารู้จักแยกแยะเรื่องส่วนตัวกับเรื่องงาน
  3. อยากเห็นหัวหน้าไม่แบ่งพรรค แบ่งพวก และรักลูกน้องเท่ากันทุกคน
  4. อยากเห็นหัวหน้ารับฟังความคิดเห็นของตนเองบ้าง
  5. อยากเห็นหัวหน้าตัดสินใจโดยใช้มาตรฐานเดียวกับพนักงานทุก
7. ผู้บริหารระดับกลาง

ผู้บริหารระดับกลาง

ผู้บริหารระดับกลาง หมายถึง ผู้อำนวยการ หัวหน้าศูนย์ ผู้จัดการแผนก หรือหัวหน้าสายงาน

หน้าที่ของผู้บริหารระดับกลาง

  • ดำเนินงานตามนโยบายและแผนงานที่ได้กำหนดไว้
  • ประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูง เพื่อกำหนดนโยบายให้ผู้จัดการระดับล่าง ได้นำแผนงานไปปฏิบัติ


8. ผู้บริหารระดับสูง

ผู้บริหารระดับสูง

ผู้บริหารระดับสูง หมายถึง ประธานกรรมการจนไปถึงกรรมการผู้จัดการ หรืออาจเรียกว่าผู้ริเร่มก่อตั้งองค์การ

หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง

  • เป็นผู้ตัดสินใจแผนการระยะยาวที่เกี่ยวกับทิศทางโดยรวมขององค์การ
  • กำหนดวัตถุประสงค์ นโยบายและกลยุทธ์
  • แนะนำทางการจัดการในสิ่งต่างๆทั้งหมดที่ได้กำหนดไว้
บทที่ 6 (2)

1. อธิบายชื่อและกิจกรรมของฝ่ายต่างๆทั้ง 5 ฝ่ายตามบททดสอบปลายเปิดบทที่ 6 (1)
การบัญชี หมายถึง กระบวนการจัดการในส่วนของบันทึกรายการทางการค้า ได้แก่ การเขียนบันทึกรายการทางการค้า การจำแนกแยกประเภทหมวดหมู่ทางการค้า การสรุปผลการดำเนินงาน รวมไปถึงการวิเคราะห์และการแปลความหมายข้อมูลของนักบัญชี
หน้าที่ทางการตลาด  หมายถึง  กิจกรรมที่เกิดการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของบริษัทไปยังลูกค้าหรือผู้บริโภค  เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ในสินค้าหรือผลิตภัณฑ์
การบริหารการผลิต
                การผลิตเป็นการสร้างสรรค์สินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการมนุษย์ ผู้ซึ่งมีความต้องการอย่างไม่สิ้นสุด แต่เนื่องจากการมีทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดนั้น จึงได้เข้ามาเป็นตัวกำหนดบทบาทในกระบวนการผลิตเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงทำให้เกิด
การบริหารการผลิต เพื่อช่วยให้ผลผลิตที่ออกมามีคุณภาพ และตรงตามความต้องการของมนุษย์ อีกประการหนึ่งยังเป็นการช่วยให้เรานำเอาทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดนั้น มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอีกด้วย โดยการผลิตมีการแปรรูปปัจจัยนำเข้าต่างๆ ผ่านกระบวนการที่ทำให้ผลผลิตที่ได้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นมากกว่าปัจจัยนำเข้า ดังนั้นการผลิตจึงเป็นหนึ่งในหน้าที่หลักของการบริหารธุรกิจที่มีผลโดยตรงต่อความอยู่รอด
งานด้านฝ่ายทรัพยากรบุคคล คือ งานที่มีบทบาทอยู่ในทุกส่วนงานของ IKEA ตั้งแต่จัดหาบุคลากร จัดฝึกอบรม ไปจนถึงมีส่วนร่วมในแผนงานธุรกิจและพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีคุณสมบัติพร้อม สืบทอดงานอย่างต่อเนื่อง บทบาทสำคัญอีกประการของ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล คือปกป้องและสร้างความแข็งแกร่งให้กับแนวทางความเป็น IKEA แนวทางที่หลอมรวมทุกคนเข้าไว้ด้วยกันไม่ว่าจะมาจากพื้นฐานแบบใด เป็นแนวทางที่จะช่วยให้ทุกคนพัฒนาไปพร้อมๆกันได้อย่างเป็นรูปธรรม ทีมทรัพยากรบุคคลยังมีหน้าที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ร่วมงานทุกคนให้มีความสุขในการทำงาน และมั่นใจว่าจะสามารถเติบโตในตำแหน่งหน้าที่การงานในอนาคต โดยร่วมมือกับผู้จัดการแผนกต่างๆ ในการพัฒนาศักยภาพของผู้ร่วมงานทุกคนอย่างเหมาะสม
 ฝ่ายวิจัยและพัฒนาวิชาการ
 เป็นที่ยอมรับในปัจจุบันว่า หัวใจสำคัญในการพัฒนาประเทศเพื่อให้สามารถยืนหยัดในเวทีนานาชาติ ในสภาพการแข่งขันไร้พรมแดนได้ คือความสามารถในการพัฒนาองค์ความรู้ของตนเอง และลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากภายนอก ดังนั้นการวิจัยและพัฒนาซึ่งเป็นกลไกหลักในการสร้างองค์ความรู้ จึงถือได้ว่าเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนในทุกๆ ด้าน สถาบันค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการผลิต ซึ่งปัจจุบันมีการนำเข้าจากต่างประเทศจำนวนมาก จึงได้จัดตั้งฝ่ายวิจัยและพัฒนาวิชาการขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการด้านงานวิจัย งานบริการวิชาการ รวมถึงเป็นแหล่งข้อมูลในการให้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต แก่นิสิต นักศึกษา และบุคลากรภาคเอกชน

2. อภิปลายบทบาทของผู้บริหารทั้ง 3 ระดับในองค์กรตามบททดสอบปลายเปิดบทที่ 6 (1)
ผู้บริหารระดับสูง
ผู้บริหารระดับสูง หมายถึง ประธานกรรมการจนไปถึงกรรมการผู้จัดการ หรืออาจเรียกว่าผู้ริเร่มก่อตั้งองค์การ
หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง
เป็นผู้ตัดสินใจแผนการระยะยาวที่เกี่ยวกับทิศทางโดยรวมขององค์การ
กำหนดวัตถุประสงค์ นโยบายและกลยุทธ์
แนะนำทางการจัดการในสิ่งต่างๆทั้งหมดที่ได้กำหนดไว้2412
ผู้บริหารระดับกลาง
ผู้บริหารระดับกลาง หมายถึง ผู้อำนวยการ หัวหน้าศูนย์ ผู้จัดการแผนก หรือหัวหน้าสายงาน
หน้าที่ของผู้บริหารระดับกลาง
ดำเนินงานตามนโยบายและแผนงานที่ได้กำหนดไว้
ประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูง เพื่อกำหนดนโยบายให้ผู้จัดการระดับล่าง ได้นำแผนงานไปปฏิบัติ
ผู้บริหารระดับล่าง
ผู้บริหารระดับล่าง หมายถึงหัวหน้าแผนกหรือหัวหน้าคนงาน
หน้าที่ของผู้บริหารระดับล่าง
ทำตามนโยบายที่ผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับกลางกำหนดไว้
ทำการตัดสินใจระยะสั้นในการดำเนินงาน
ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาให้กับทีม สร้างแรงจูงใจและสามารถรับผิดชอบแทนผู้ที่อยู่ในแผนกของตนได้

3. ระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ทำงานทั้ง 4 ชนิด มีอะไรบ้าง
 ถ้าพิจารณาจำแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทำงานในองค์กร 
 จะแบ่งระบบสารสนเทศได้เป็น 4 ประเภท  ดังนี้ (Laudon & Laudon, 2001)
1.  ระบบสารสนเทศสำหรับระดับผู้ปฏิบัติงาน (Operational – level systems) 
2. ช่วยสนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติงานพื้นฐานและงานทำรายการต่างๆขององค์กร เช่นใบเสร็จรับเงิน  รายการขาย  การควบคุมวัสดุของหน่วยงาน เป็นต้น  วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อช่วยการดำเนินงานประจำแต่ละวัน และควบคุมรายการข้อมูลที่เกิดขึ้น
3.  ระบบสารสนเทศสำหรับผู้ชำนาญการ (Knowledge-level systems)
4.  ระบบนี้สนับสนุนผู้ทำงานที่มีความรู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล   วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อช่วยให้มีการนำความรู้ใหม่มาใช้ และช่วยควบคุมการไหลเวียนของงานเอกสารขององค์กร
  5 .ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Management - level systems)  เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการตรวจสอบ   การควบคุม การตัดสินใจ และการบริหารงานของผู้บริหารระดับกลางขององค์กร
6.ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (Strategic-level system)
  เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยการบริหารระดับสูง ช่วยในการสนับสนุนการวางแผนระยะยาว  หลักการของระบบคือต้องจัดความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมภายนอกกับความสามารถภายในที่องค์กรมี เช่นในอีก5 ปีข้างหน้า องค์กรจะผลิตสินค้าใด

4. อธิบายความแตกต่างของรายงานแต่ละชนิดและบทบาทของผู้บริหารในการตัดสินใจ
บทบาทของผู้บริหาร แบ่งออกเป็น 3 แบบ ได้แก่
1. บทบาทระหว่างบุคคล (Interpersonal roles) ได้แก่ บทบาทจากหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ ได้แก่
 หัวหน้า (Figurehead) มีบทบาทในการบังคับบุคคลเพื่อให้ทำหน้าที่ที่รับผิดชอบ
 ผู้นำ (Leader) มีบทบาทในการกระตุ้น/เร้าผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาในด้านการทำงาน หรือด้านอื่นๆ
  ผู้ติดต่อ (Liaison) มีบทบาทในการติดต่อกับองค์กรหรือหน่วยงานภายนอก เพื่อให้ได้ข้อมูลและบริการด้านการค้า
2. บทบาทด้านสารสนเทศ (Informational roles) ได้แก่
ผู้ตรวจสอบ (Monitor) มีบทบาทในการค้นหาและรับข้อมูลมาใช้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจองค์กรและสภาพแวดล้อมภายนอก
ผู้เผยแพร่ (Disseminator) มีบทบาทในการส่งข้อมูลที่ได้รับจากภายนอก หรือจากหน่วยงานย่อย
ให้กับสมาชิกขององค์กร
โฆษก (Spokesman) มีบทบาทในการส่งข้อมูลไปยังภายนอก ตามแผนหรือนโยบายขององค์กร
3. บทบาทด้านการตัดสินใจ (Decisional roles) ได้แก่
ผู้จัดการ (Entrepreneur) มีบทบาทในการค้นหาการจัดการและสภาพแวดล้อมที่เป็นโอกาส และ
ริเริ่มหรือแนะนำในด้านการควบคุมภายในองค์กร
ผู้จัดการสิ่งรบกวน (Disturbance Handler) มีบทบาทในการปรับการทำงานให้ไปในทางที่ถูก
เมื่อองค์การเผชิญกับสิ่งรบกวนที่ไม่คาดคิดมาก่อน
 ผู้จัดสรรทรัพยากร (Resource Allocator) มีบทบาทในการจัดสรรทรัพยากร ให้แก่หน่วยงาน
ต่างๆ ตามแผนกลยุทธ์ที่วางไว้
 ผู้เจรจา (Negotiator) มีบทบาทในการเป็นตัวแทนองค์กรในการติดต่อเจรจากับองค์กรอื่นๆ

 5.ระบบสำนักงานอัตโนมัติและระบบการทำงานที่ใช้ความรู้เฉพาะด้านแตกต่างกันอย่างไร
สำนักงานอัตโนมัติ ( Office Automation หรือ OA) เป็นแนวคิดในการนำเอาระบบเครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สำนักงานต่าง ๆ และผนวกด้วยซอฟต์แวร์สำหรับช่วยงานในสำนักงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการให้เป็นสำนักงานไร้กระดาษ โดยให้ทำงานต่อไปนี้
  - สื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
   - จัดพิมพ์เอกสารต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และมีคุณภาพ
   - การออกแบบสิ่งพิมพ์และเอกสาร โดยโปรแกรมที่ได้รับความนิยมค่อนข้างมากในขณะนี้ก็คือโปรแกรม PageMaker
    - รับข้อความจากผู้โทรศัพท์เข้ามาติดต่อแล้วบันทึกเสียงนั้นไว้หากผู้รับไม่อยู่ในสำนักงาน
    - บันทึกภาพลักษณ์ (Inage) ของเอกสารต่าง ๆ ไว้ในระบบประมวลภาพลักษณ์ (Image Processing System)
 - มีระบบประชุมทางไกล (Video Teleconference) เป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมอุปกรณ์สื่อสาร
 และกล้องวีดิทัศน์ ทำให้ผู้บริหารหน่วยงานสามารถประชุมปรึกษาหารือกับผู้บริหารที่อยู่คนละสถานที่โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปประชุมด้วยกัน
      - มีระบบช่วยงานผู้ปฏิบัติงานต่าง ๆ ได้แก่ การบันทึกนัดหมาย การบันทึกข้อความส่วนตัว การนัดประชุม การคำนวณ การตัดสินใจ ฯลฯ